1 : รักษากายและจิต
ผู้สูงอายุต้องรักษากายให้ดี เ พ ร า ะเงินทอง ไม่มีประโยชน์ เอาแค่พอเพียงต่อชีวิตความเป็นอยู่ ที่เหลือเป็นส่วนเกิน
ที่เราไม่ได้ใช้เรื่องจิต ก็สำคัญเช่นกันต้องโปร่งใสอย่ าไป ขุ่นมัวโดยที่ไร้ ประโยชน์ คำนึงไว้ว่าเวลาอยู่ในโลกนี้
สั้นแล้วดังนั้น อย่ าเสียเวลา เป็นทุกข์แต่ให้ E n j o y l a s t m i n u t e
2 : อย่ าหยุดทำงาน
เกษียณแล้วอย่ าเอาแต่นั่ง ๆ นอน ๆ เ พ ร า ะเมื่อไหร่ ที่เราหยุดทำงานร่างกายของเราก็จะหยุดตาม ลงไปด้วย
เหมือนรถที่จอดเฉย ๆ สตาร์ทไม่ติด ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงมีรับสั่งว่าอย่ าหยุดด้วย จิตและกาย ก็อย่ าหยุดด้วย
3 : ใช้ชีวิตโดยรักษา ความเป็นธรรมดาเอาไว้
อย่ ายึดติดยศถาบรรดาศักดิ์ แต่ให้ทำชีวิต อยู่อย่ างธรรมดา เรียบ ๆ ง่าย ๆเ พ ร า ะจะยิ่งใหญ่ มาจากไหน
เกษียณแล้ว ทุกอย่ างสูงสุดคืนสู่สามัญ ไม่ต้องเป็นวีไอพีหรอก เ พ ร า ะจะเป็นวีไอผีอยู่แล้ว
4 : ยึดถือคำว่า “ประโยชน์สุข” เป็นเป้าหมายของชีวิต
อะไรไม่มีประโยชน์ อย่ าทำอย่ าคิดทำให้ทำ แต่สิ่งที่มีประโยชน์ ผลสุดท้ายสิ่ง ที่เราจะได้รับคือความสุข
5 : อย่ าลืมเอาจิตไป พักผ่อนบ้าง
หลายคนเมื่อเกษียณแล้ว มักใช้เวลา หาแต่ความสุข ทาง “กาย” พากายไปเที่ยวไป พักผ่อนไปสูดอากาศไป
กินอาหารดี ๆ แต่กลับละเลย ไม่คิดที่จะเอาจิตไป พักผ่อน ทั้งที่กายกับจิตนั้น สัมพันธ์และ มีอิทธิพลต่อกัน
6 : ใช้ชีวิตอย่ างมี “สติ”
ไม่ว่าจะเป็นการมีสติ ในการกินแทนที่ จะกินตามใจปาก สนองความอย ากของตัวเองแล้วต้องให้หมอจ่ายย าลดไขมัน
ลดน้ำตาลทำไม เราไม่ลองหันมาลดที่ “ปาก” ของตัวเองด้วยการใช้สติ ในการพิจารณา อย่ างมีเหตุ มีผลทุกครั้ง ในการกิน
7 : น้อมนำหลักเศรษฐกิ จพอเพียงมาใช้ ในการดำเนินชีวิต โดยมี“เหตุผล” เป็นเครื่องนำทาง
เหตุผลเป็นผลผลิต ของปัญญา ดังนั้นจึงต้องรักษาศีล เสียก่อน และมีสติสมาธิผลสุดท้าย จะทำให้เกิด การพิจารณา
โดยใช้ปัญญา เป็นที่ตั้งเมื่อดำเนิน ทุกอย่ างด้วย เหตุด้วยผล ก็จะเกิด ความพอเพียง
8 : ฝึกการให้โดยไม่หวังผล ตอบแทนด้วยหลัก “ทาน” ของทศ พิ ธ ร าชธรรม
เกษียณแล้วอย่ าเอาแต่อยู่บ้านเฉย ๆ แต่ให้พย า ย ามหา เรื่องช่วยคนโน้นคนนี้เท่าที่ร่างกายของเรา จะทำได้
รักษาร่างกาย ให้แข็งแรง เพื่อทำประโยชน์ให้แก่ผู้อื่น
9 : ฝึกระลึกถึง “มรณานุสติ”
ใคร ๆ ก็ เสียชีวิต ได้ ไม่ว่าใครก็ต้องหมดลมหายใจ เท่าเทียมกัน หมดทุกคนเมื่อมองเห็นการเสียชีวิต
เป็นเรื่องธรรมดา จะทำให้เรานิ่งกับมัน
10 : ร่าเริงรื่นเริงคึกคักครึกครื้น
คาถาที่ว่านี้ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงรับสั่งเสมอ เ พ ร า ะจิต เป็นเรื่องสำคัญต้องมีอารมณ์ขันอยู่ตลอดเวลา
มองเห็นทุกอย่ าง เป็นเรื่องสนุก จึงจะสามารถทำงานได้สำเร็จรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ เมื่อตัวเราร่าเริงยิ้มแย้ม
แจ่มใสบรรย ากาศรอบตัว คนรอบข้างที่ อยู่กับเรา ก็รื่นเริงไปด้วย
11 : อักโกธะหรือความไม่โกรธ
เป็นอีกหลักข้อหนึ่ง ใน ท ศ พิ ธ ร า ชธรรม เ พ ร า ะเมื่อโกรธแล้ว มักจะเสียหายหากคุมอารมณ์ไม่อยู่ ในเรื่องไร้สาระ
เมื่อไหร่ ก็ตามที่มีเรื่อง มากระทบใจแค่ลองพลิกอารมณ์ มองให้เห็นเป็นเรื่องสนุกๆ เท่านี้ ทุกอย่ างก็จบ
12 : อวิโรธนะคือ การดำรง อยู่ในความถูกต้องเสมอ
เป็นหลัก ท ศ พิ ธราชธรรมที่ต้องรักษา ให้มั่นหากอย่ างปฏิบัติ ตามในหลวงรัชกาลที่ 9 โดยยึดหลักธรรมะ ที่ต้องมี
ทั้ง 2 อย่ าง คือทั้งความดี และความถูกต้องเ พ ร า ะบางอย่ างดี แต่ไม่ถูกต้อง บางอย่ างถูกต้องแต่ไม่ดี การกระทำ
ของเราต้องตรวจสอบ อยู่ตลอดเวลา เป็นธรรมหรือ เปล่านั่น คือดี และถูกต้องหรือเปล่า