ไฟในอย่ านำออก..ไฟนอกอย่ านำเข้า อาจกลายเป็นบ่อนทำลายชีวิตคุณได้
แง่คิดวันนี้อยู่ในหมวดบทความความรัก เกี่ยวกับประโยคหนึ่งที่คงเคยได้ยินกันมาบ้าง คือ “ความใน
อ ย่ า นำออกความนอกอย่ านำเข้า” แม้จะเป็นเรื่องที่น่าจะเข้าใจไม่ย าก แต่ในชีวิตจริง มีทั้งคนไม่
เข้าใจ และเข้าใจแต่ทำไม่ได้ ทั้งที่มันอาจกลายเป็นการบ่อนทำลายชีวิตคู่ได้อย่ างจริงจัง…
ความในอย่ านำออก ความนอกอ ย่ านำเข้า
บ้างก็ใช้ในอีกประโยคคือ “ไฟในอย่ านำออก ไฟนอกอย่ านำเข้า” ความหมายคือไม่ควรนำเรื่องราว
ใ น ครอบครัว หรือในบ้านไปพูดกับคนข้างนอก และในทางกลับกันก็ไม่ควรนำเรื่องนอกบ้าน (ที่ไม่
จำ เ ป็ น) ม า เ ป็ นประเด็นในบ้านหรือในครอบครัวตัวเอง ในประโยคที่ใช้แทนว่า “ไฟ” ด้วยเป็น
ตัวแทนความร้อน เช่น เรื่องร้อนแรง หรือสิ่งไม่ดี ก็จะหมายถึงอะไรไม่ดี ๆ ในบ้านไม่ควรนำไปพูด
ซึ่งจะ “ไฟใน” หรือ “ความใน” มันก็เป็นประเด็นได้ไม่ต่างกัน เริ่มจาก“ไม่มีการพิจารณาว่าอะไร
ควรพูด ไม่ควรพูด…”
ถ้าคนหนึ่งมองว่า เรื่องนี้ไม่ใช่ “ไฟ” คือคิดไปเองฝ่ายเดียวว่าไม่น่าเสียหาย ไม่ใช่เรื่องรุนแรงจึง
เอาไปพูดแต่คนในบ้านไม่เห็นด้วย มองว่าเป็นเรื่องที่ไม่ควรพูด ก็ย่อมไม่พอใจมีปัญหากันได้
ก า ร ที่แม้เป็นแค่ “ความใน” ที่อาจหมายถึงเรื่องทั่วไปเรื่องที่เราก็คิดแล้วว่าไม่น่าจะเสียหายก็
ต้ อ ง ไ ม่ ลื มว่าเรื่องราวที่ถูกพูดต่อ ๆ กันไป ข้อความผิดเพี้ยน บิดเบือนได้เสมอ จากเรื่องดี ๆ
กลายเป็นไม่ดีก็มีมาแล้วโดยอย่ างยิ่งบนคำว่า“สนุกปาก”แล้วก็ใช่เพียงสนุกปากคนอื่นเท่านั้น
บางครั้งก็จากความสนุกปากเราเองหรืออารมณ์ที่ไม่มีความยั้งคิดจะพูดจริงพูดเล่น พูดประชด
คึกคะนองไป มันย้อนคืนไม่ได้เมื่อมันเสียหายไปแล้ว…
เหตุไม่ใช่แค่ไม่มีความยั้งคิด
ที่จริงก็ย ากจะตัดสินและพิจารณาว่า เรื่องไหนดีเรื่องไหนไม่ดี เรื่องไหนอาจจะเสียหายไม่เสีย
หา ย เมื่อมองเป็นกลางแล้ว บางเรื่องเราก็ไม่รู้ตัว หรือลืมตัว พูดไม่ทันคิดกันได้บ่อย ๆ แต่ก็มี
หลายกรณีที่เหตุไม่ใช่แค่ไม่มีความยั้งคิด เ พ ร า ะคิดแล้วนี่แหละจึงพูดไป เพียงแต่เป็นการ
คิดในมุมเดียว…
เช่น เมื่อเกิดความน้อยใจ ความไม่สบายใจเกี่ยวกับคนในครอบครัว เราอย ากปรึกษาใครสักคน
ย่ อ ม ทำได้แต่บนความเป็นจริงน้อยคนนักที่จะต้องการ “คำปรึกษาจริง ๆ ” มักแค่ต้องการบ่น
ระบ า ยออกไป แล้วก็เป็นได้อีกว่าการบ่นระบายนั้น เพียงต้องการต่อว่าคนในบ้านเพื่อความ
สะใจของตัวเองในเวลาอันสั้นแต่คนฟังนั้นคิดอีกอย่ าง…
…บ่นระบาย ไม่ใช่การปรึกษา…
ทุกวันนี้การมีโลกโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ก การบ่นระบาย หลายคนจึงทำได้ทันที เหตุอาจเ พ ร า ะ เรียก
ร้ อ ง ค วามสนใจต้องการคนเข้าใจเข้าข้างซึ่งเมื่อทำโดย “ฉาบฉวย” ผลที่ได้ก็คือความห่วงใย
“ฉ า บ ฉวย” เช่นกัน รูปสติ๊กเกอร์สักอัน หรือข้อความสั้น ๆ ง่าย ๆ อย่ าง “สู้ ๆ นะ” แท้จริงมันก็
ไม่ได้แสดงว่าเขาห่วงใยใส่ใจในสิ่งที่เราโพสท์ลงไปได้จริง…
ล อ ง คิดดูสิว่า ถ้าแค่นั้นคือความเข้าใจ เห็นใจ ทำไมเราจึงไม่มีนักหนา?? ถ้ามันง่ายขนาดนั้น…
มั น จึ ง เ ป็นไปไม่ได้เลยที่จะพิมพ์อะไรแนวนี้แล้วชดเชยทดแทนกันได้ ซ้ำมีแต่ผลเสียตามมา
เ พ ร า ะลึ ก ๆ แ ล้วเมื่อเราอ่านมัน คนที่เราต้องการความเห็นใจ (จริง ๆ) หรืออย ากให้เขารับรู้
กระทั่ง ให้เขาทำอะไรสักอย่ าง เขาก็ไม่มีทางมาโพสท์ตอบในทำนองเห็นใจ เข้าใจได้ง่าย ๆ..
ทำไมนะหรือ? ก็ข้อความเหล่านั้นมันมักจะ “ประชด ต่อว่า” เขาไปแล้ว แม้ไม่ใช่ตรงๆ แค่จะบ่น
ว่าเสียใจน้อยใจก็ตาม
แ ต่ สุดท้ายดูดี ๆ คนที่ถูกต่อว่าก็คือ “เขา” นั่นเอง แล้วใครล่ะจะอย ากมาตอบ… (อาจมาตอบ
แบบต่อว่ากลับก็ได้ ทะเลาะกันให้คนอื่นเห็นไปอีก… บันเทิง!) ถ้าคิดดี ๆ ได้จากตรงนี้ การคุย
กันเองตรง ๆ ง่ายกว่า ดีกว่ามาก เช่น บอกไปกับเขาต่อหน้าไปว่า “ฉันน้อยใจ…”
อีกอย่ างแม้การนำข้อความบ่นระบายบนความน้อยใจเสียใจเหล่านั้นโพสท์ลงไปแล้วมีคนมา
ต อ บ ใ ห้ คำ ปรึกษาที่สุดแล้ว ก็มักไม่ใช่สิ่งที่คนโพสท์ต้องการ หากเป็นเรา เราอาจไม่รู้ตัว
แ ต่ เ ป็ นค นอื่นลองทบทวนดูสิ เดี๋ยวเขาก็วนมาโพสท์อะไรคล้ายเดิมใหม่ ทั้งที่คงมีคนให้
คำแนะนำปรึกษาเรื่องเดิม ๆ นี้มาแล้วไปแล้วหลายสิบคน…
เ พ ร า ะไม่มีความมั่นใจ คิดว่าการพูดออกไปจะทำให้คนอื่นเข้าข้าง เห็นใจ เรียกร้องสิ่งใด
ได้ สุดท้ายมันคือตรงกันข้าม เมื่อ “ความใน” เผยไป “คนใน” ก็ดูเป็นคนไม่ดีไปแล้ว เขาจะ
อ ย า ก กลับมาหาพระเอกนางเอกอย่ างเราไหมล่ะ? ก็คงอาจคิดในใจไปเลยว่า “โอเค!!
ไม่เหมาะสมกัน!!” ต่างคนต่างไป…
การเอาเรื่องอื่นมาพูดในบ้าน
ก า ร เ อ า “เ รื่องนอกบ้าน” ที่เป็น “ความนอก” มาพูดในบ้าน จริง ๆ ไม่น่าจะเสียหายอะไร
เ พ ร า ะคนในบ้านควรเป็นคนที่เราคุยกันได้ทุกเรื่องแม้จะเป็นเรื่องที่ดูดีหรือไม่ก็ตามแต่ถ้า
เรื่องนั้นเกี่ยวพันกับคนในบ้านไปด้วยในทำนองเช่น “ไปรู้มาว่า…”
เช่นนี้ ก็ต้องระวังอารมณ์ ระวังความคิด สอบถามกันให้ชัดเจนว่าจริงเท็จอย่ างไร และแม้จะ
เกี่ยวข้องจริงก็ต้องดูเหตุผลนั้นๆ ซึ่งตรงนี้มันไม่ใช่แค่การพูด แต่เกี่ยวโยงไปยังการกระทำ
ด้ว ย ก็ว่ากันไปโดยส่วนมากปัญหาต่อมาก็ คือ พอคุยกัน (ในบ้าน) แล้ว ได้ความอย่ างไร
เลยไปพูดนอกบ้านต่อ กับต้นตอที่ “ไปรู้มาว่า” นั้น ซึ่งมองดูดีๆ
นี่ คือการรับรู้เรื่องราวที่ทำลายความเป็นปกติสุขชัดเจน สุภาษิตญี่ปุ่นจึงมีประโยคหนึ่งที่ว่า
“เ มื่ อ ไ ม่ รู้ ก็ ไม่ทุกข์”แต่ “ความนอก” ที่เป็นเรื่องนอกบ้านจริง ๆ ที่ไม่ควรนำเข้าก็อย่ าง
เอามาพูดเพื่อประชดเสียดสีเอามาเล่าเพื่อเปรียบเทียบกับคนในบ้าน เช่นนี้มีแต่ปัญหาแน่
อีกกรณีแม้จะไม่ได้เกี่ยวข้อง หรือ มีเจตนาไม่ดี แต่เรื่องนอกบ้านเหล่านั้นเป็น เรื่องแง่ลบ
เ รื่ อ ง หดหู่ เรื่องที่ดูรุนแรง มีมากไปก็จะส่งผลให้บรรย ากาศในครอบครัวดูแย่ตาม หรือ
ข่ า ว ไร้สาระ ข่าวความเครียดทางการเมืองที่ใช่ว่าเหล่านี้จะมีการพูดคุย“กันบ้าง”ไม่ได้
เพียงแต่เมื่อมีมากไปไม่นานก็เป็นประเด็นโดยที่ไม่จำเป็นใดๆเลย
ทั้งหมดนี้เป็นเรื่องของ “การคุยกัน” คนในบ้านซึ่งจะเป็นพ่อ แม่ พี่ น้อง ครอบครัว ลูกหลาน
ก็ตา ม แต่ส่วนใหญ่คนที่ต้องพูดคุยกันมากที่สุดในช่วงชีวิตมักจะเป็น แฟนกัน สามีภรรย า
คนรักกัน ถ้าเป็นทั่วไปแล้วยิ่งพูดมาก เราต้องยิ่งระวังคำพูดให้มาก ไม่ว่าจะกับใคร แต่กับ
คนใกล้ตัวบางทีก็ไม่ได้หมายความว่า รักกันสนิทกัน จะพูดคุยอะไรกันก็ได้ที่สำคัญเรื่อง
ที่พูดนั้นจริง ๆ แล้วมันเรื่องของใคร จำเป็นหรือส่งผลดีไหมละกับชีวิตคู่ของเรา…