2 แนวคิดออมเงิน “ถ้าใช้จ่ายเป็น ก็เห็นเงินออม”
การใช้จ่ายเป็น ก็เห็นเห็นเงินออม ไม่ว่าใครก็ทำได้ ถ้าตั้งใจจะทำมันจริง ๆ
ใช้จ่ายเป็น เห็นเงินออม คำกล่าวนี้ไม่เกินจริง เราสามารถทำได้ และวันนี้
เรานำเทคนิคดีๆ มาให้ทุกคนอ่านข้อดีของการแยกกระเป๋าเงินออกเป็น
สองกระเป๋า
ข้อ 1 กระเป๋าใช้ : เอาไว้ใช้จ่ายอย่ างเดียว
ก ระ เ ป๋ า ส่ วนนี้สำหรับใช้จริง ๆ ค่าใช้จ่ายหลัก ๆ 3 ข้อ คือ หนี้สินรายเดือน
ใ ช้ จ่ า ย เรื่องส่วนตัวเรื่องจำ เ ป็ น ใ นครอบครัวเราควรแยกไว้ในกระเป๋านี้
ทั้งหมดครับ เคล็ดลับสำคัญอีกอย่ างของกระเป๋าใช้ คือการจดบัญชีรายรับ
ร า ย จ่ า ย เริ่มแรกผมจะจดไว้ก่อนเลยว่าตอนนี้หนี้สินที่ต้องจ่ายมีรายการ
อะไรบ้าง รวมแล้วเป็นจำนวนเท่าไหร่ มันจะทำให้ผมรู้เลยว่าสามารถมีหนี้
เพิ่มได้อีกหรือไม่ จะได้ไม่มีหนี้สินติดตัวมากเกินไป
ข้อ 2 กระเป๋าเก็บ : เก็บออมเงินอย่ างเดียว
กระ เ ป๋ าเก็บนี้ผมตั้งใจจะไม่นำออกมาใช้เลยครับ เ พ ร า ะผมจะออมเพื่อทำ
ตามเป้าหมายที่ผมตั้งไว้เช่น ใ ช้ ย า ม ฉุ ก เฉินหรือเจ็บป่ว ย เคล็ดลับง่าย ๆ
เลย เริ่มจากวันที่เงินเดือนออกผมจะหัก 10% ของ เงินเดือน ก็คือ เงินเดือน
15,000 ก็จะเก็บ 1,500 บาท ไว้ในกระเป๋าเก็บเลยครับไม่เอาออกมาปน
กั บ กระเป๋าใช้ ส่วนวิธีเก็บ ผมแนะนำให้เปลี่ยนจากการหยอดกระปุกมาเป็น
การเปิดบัญชีออมทรัพย์ที่ธนาคารแทนครับ เงินกระเป๋าเก็บสามารถนำออก
มาใช้ได้ย ากเป็นเรื่องที่ดีที่สุดครับ
ฉะนั้นการที่เรามี 2 กระเป๋าแยกเป็น “กระเป๋าเก็บและกระเป๋าใช้” จะทำให้เรา
รู้ ว่ า เงินก้อนไหนเก็บไว้เพื่ออนาคตและเงินก้อนไหนเอาไว้ใช้ในปัจจุบัน
มันช่วยให้เราจัดการเรื่องเงินได้ง่ายขึ้นมาก ชีวิตเราก็จะมีเงิน ออมไว้ใช้
ย ามฉุ กเ ฉิ น