1.เผลอต่อว่าลูกต่อหน้าคนอื่น
การดุด่ าว่ากล่าวลูกต่อหน้าคนอื่นนั้น ถือเป็นการทำร้ า ย
จิตใจลูกเป็นอย่ างมาก คุณพ่อคุณแม่ต้องคิดอยู่เสมอว่า
เ ด็ ก ๆ เขาก็มีความรู้สึกอาย และเสี ยหน้าเป็นนะ ดังนั้น
หากลูกมีพฤติก ร ร มที่ไม่เหมาะสม ควรค่อย ๆ พูดกับลูก
ในระดับที่เสมอกัน ด้วยน้ำเสียงที่ดูอ่อนโยนและเป็นมิตร
ซึ่งไม่ควรเผลอที่จะต ะ ค อ ก หรือโวยวายใส่ลูกต่อหน้า
คนอื่นหรือที่สาธารณะ
2. เผลอข่ ม ขู่ หรือทำให้ลูกก ลั ว
เ ด็ ก ๆ มักจะกลั วเสียงดุจากคุณพ่อคุณแม่อยู่แล้ว สาเหตุ
ก็เนื่องจากลูกยังไม่สามารถเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ ได้ดีเกือบ
ทั้งหมด การเรียนรู้ครั้งแรกหรือการทำผิดพลาดอาจทำให้
ลูกเกิดความไม่กล้าในครั้งต่อไป หากพ่อแม่ใช้วิธีการขู่มา
เป็นข้อห้ าม หรือห ล อ ก เพื่อไม่ให้ลูกได้ทำสิ่งต่าง ๆ เช่น
ออกไปนอกบ้าน ระวังตำรวจ จั บ นะ หรือ ถ้าซนมาก ๆ เดี๋ยว
ตุ๊กแกกิน ตั บ เลย การขู่แบบนี้ หากคุณทำบ่อย ๆ ลูกจะซึบ
ซับและจะกลายเป็นการกลั วและฝังใจ กลั วแม้กระทั่งเรื่อง
นิด ๆ หน่อย ๆ ทำให้เ ด็ กกลายเป็นคนขี้ ก ลั ว ซึ่งความกลัว
เหล่านี้จะเป็นสาเหตุให้เ ด็ กเก็บไปฝัน และนอนผ ว าในตอน
กลางคืนได้ ถือเป็นการบั่ น ท อ น สุ ข ภ า พ ของเด็ กอย่ าง
มาก เพราะสำหรับพวกเขาแล้ว เรื่องของจิตใจกับความรู้สึก
ถือเป็นเรื่องใหญ่ที่สำคัญ ไม่น้อยไปกว่าการเอาใจใส่ ดูแล
สุ ข ภ า พ ร่ า ง ก า ย เพราะสองอย่ างนี้จะเติบโตคู่ไปกับลูก
ทางที่ดนั้น พ่อแม่ไม่ควรเผลอกระทำสิ่งเหล่านี้ลงไปให้ลูก
รู้สึกแ ย่ หรือรู้สึกไม่ดี เพื่อให้ลูกได้เติบโตมาเป็นเ ด็ กที่มี
อารมณ์ดี มีจิตใจมั่นคง และร่ า ง ก า ย ที่แข็งแรงในอนาคต
3. เผลอเปรียบเทียบลูกกับคนอื่น
เพราะการเปรียบเทียบจะเป็นการสร้างความรู้สึกด้ อยให้เกิดขึ้น
ในชีวิตของลูก ๆ ซึ่งเป็นอั น ต ร า ย ต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ
ของเด็กเป็นอย่ างมาก ถึงแม้การพูดในลักษณะนี้จะเป็นการที่
อย ากจะให้ลูกได้พย าย ามปรับปรุงตัวเองให้ดีขึ้นก็ตาม แต่ก็
อาจทำให้เ ด็ กรู้สึกด้ อยค่า และมองว่าไม่เก่งเท่าคนอื่น ๆ อาจ
จะเลิกพย าย ามทำหรือยอมแพ้ หรืออีกมุมหนึ่งคือ เ ด็ กอาจ
เกิดความคิดหาทาง ก ลั่ น แ ก ล้ ง ทำ ล า ย คู่แข่งคนอื่น ๆได้
ซึ่งคุณพ่อคุณแม่ไม่ควรเข้าใจว่า พื้นฐานของเ ด็ กแต่ละคนนั้น
ตลอดจนความสามารถนั้นแต กต่างกัน ควรจะมองและชื่นชม
ลูกในสิ่งที่เขาสามารถทำได้ และถนัดมากกว่าการใช้คำพูดเพื่อ
ทำ ล า ยความรู้สึกของลูก ๆ ด้วยการเปรียบเทียบหรือเพื่อต้อง
การให้ลูกเก่งกว่าเ ด็ กคนอื่น ๆ ในทุกด้าน
4. เผลอบอกว่า ไม่รักแล้ว
จริง ๆ แล้วไม่มีคุณพ่อคุณแม่คนไหนที่ไม่รักลูกหรอก แต่ก็ไม่
ควรนำความรักมาใช้เป็นเงื่อนไขเพื่อต่อรองกับลูก ซึ่งการพูด
ว่าไม่รัก ไม่รักบ่อย ๆ นั้น จะเป็นการบั่ น ท อ น ความมั่นคงทาง
อารมณ์ และจิตใจของลูกเป็นอย่ างมาก พ่อแม่บางคนอาจบอก
ว่าไม่รักเพื่อให้ลูกเชื่อฟัง แต่หารู้ไม่ว่าวิธีนี้อาจทำให้เ ด็ก รู้สึก
คิดจริงจังก็ได้ว่า พ่อแม่ไม่รักจริง ๆ และรู้สึกเ จ็ บ ป ว ด มากที่สุด
อาจจะไม่ทำตามในสิ่งที่พ่อแม่บอกแล้ว เพราะเขาคิดว่ามันคง
ไม่มีประโยชน์อะไรที่เขาจะทำดีหรือเชื่อฟัง เมื่อพ่อแม่ไม่รักเขา
ซึ่งเรื่องนี้ถือเป็นเรื่องใหญ่สำหรับเ ด็ กมาก ดังนั้น หากคุณจะ
ตำห นิ ลูกที่มีพฤติก รร มที่ไม่เหมาะสม ควรว่ากล่าวด้วยเหตุผล
มากกว่าการบอกว่า “ ถ้าทำตัวแบบนี้พ่อแม่ไม่รักนะ ” จะดีกว่านะ
5. เผลอเพิกเฉย ไม่สนใจลูก
การแสดงความไม่สนใจต่อลูกนั้น ในกรณีที่คุณพ่อคุณแม่ตั้งใจ
แสดงออกให้ลูกเห็นว่าการเรียกร้องแสดงความสนใจ เพื่อที่จะ
ให้พ่อแม่ตามใจนั้น เช่น การร้องไห้ชั กดิ้ น ชั กง อ หรือการที่
เดินหนีออกจากพ่อแม่นั้นไม่ได้ผล วิธีนี้ถือเป็นการช่วยฝึกวินัย
ของลูกให้เรียนรู้ว่า พฤติก ร ร มแบบนี้ไม่สามารถเรียกร้องความ
สนใจจากพ่อแม่ได้ และลูกก็จะไม่ทำอีก แต่กลับกัน หากพ่อแม่
เอาแต่สนใจอย่ างอื่น โดยที่ไม่สนใจลูกเลย เพิกเฉยต่อการที่ลูก
จะเข้ามาเล่นด้วยหรืออวดสิ่งของที่ลูกได้ทำเอง ถือเป็นการทำ
ร้ า ย ต่อจิตใจลูกมากเลยนะ