การให้อภัย คือ การยกโทษทางจิตใจในสิ่งผิดที่เขาทำต่อเราการให้อภัยมีสองระดับครับ ระดับแรก คือ ให้อภัยเมื่อรู้สึกว่า
เขารับผิดและแก้ไขอย่ างดีแล้วเมื่อคนคนหนึ่งทำไม่ดีกับเราและเขาได้รับโทษของความผิดนั้นและเขาพย าย ามชดใช้
ต่อสิ่งนั้น เขาขอโทษ เขาแก้ไข เขาชดใช้ เขาเสียใจ ทำให้ความรู้สึกของความโกรธแค้นของเราบรรเทาเรารู้สึกว่าเราให้
อภัยเขาได้….เราจึงให้อภัย
ระดับที่สอง คือ ให้อภัยโดยไม่ขึ้นกับว่าคนที่ทำผิดนั้นจะเป็นอย่ างไรจะเสียใจ จะชดใช้จะรับโทษหรือเปล่าแต่เราก็ให้อภัย
เขาได้ทั้งสองอย่ างนี้ล้วนต้องใช้เวลาและการตัดสินใจด้วยกันทั้งนั้นแต่อย่ างที่สองย ากกว่าบางครั้งเราไม่ให้อภัยบางคน
เ พ ร า ะคิดว่าเราทำไม่ได้มันย ากเกินไป มันหนักหนาเกินไปหรือไม่เราก็รู้สึกว่า เราไม่อย ากให้อภัย เราจะเก็บความโกรธ
แค้นนี้ไว้เ พ ร า ะเขาไม่สมควรได้รับการให้อภัยแต่ในขณะเดียวกันนั้นเรากลับไม่รู้ตัวว่าจิตใจที่ โ ก ร ธแ ค้ น นั้นมาพร้อม
กับการกัดกินหัวใจและมันทำไม่ดีกับเ ราเสมอ ไม่เคย ทำ ไม่ดีกับ คนที่ทำผิดกับเราเลยมันคือย าอันตรายที่เราดื่มเข้าไป
ทุกวันและตั้งจิตปณิธานว่าทุกครั้งที่เราดื่มย าอันตรายนั้นจะทำให้คนที่เราโกรธแค้นนั้น จากไปซึ่งมันไม่ใช่ การให้อภัย
ไม่ได้ทำให้เขาพ้นผิดครับแต่ทำให้เราพ้นจากจิตใจที่เคียดแค้นและเจ็บปวดต่างหากมันแก้ไขอดีตไม่ได้ แต่มันปลดปล่อย
เราจากที่คุมขังจองจำไปสู่อนาคตที่สดใสกว่าคนที่ทำได้คือคนที่ชนะไม่ใช่พ่ายแพ้จริงๆ แล้วการให้อภัยกับการให้โอกาส
เป็นคนละส่วนกันครับเราให้อภัยแต่ไม่ให้โอกาสได้เ พ ร า ะการให้อภัยคือการยกโทษทางจิตใจที่ปลดปล่อยตัวเราจาก
การถูก ทำไม่ดี ทางใจแต่การให้โอกาสต้องมาพร้อมกับการพิสูจน์ตัวเองของคนทำผิดถ้าคนทำผิดไม่ได้กลับใจ ไม่ได้
เสียใจเราไม่จำเป็นต้องให้โอกาสเสมอไปและบางครั้งเขายังต้องรับโทษจากความผิดนั้นแต่ส่วนของเรานั้นแค่เดินออกมา
แล้วยกโทษให้เขาออกจากที่คุมขังแห่งความแค้นใจเอาชีวิตของเรากลับคืนมาใหม่เป็นของเราและเอาไปใช้ให้มีความสุข
กับการเริ่มต้นใหม่ดีกว่าการให้อภัย ทำให้เราได้ชีวิตของเรากลับมา